สถาบันแปลภาษาเอ็นวายซี NYC Language Institute ท่ามะกา ให้บริการ ทนายความ Notary Public ท่ามะกา เพื่อนำเอกสารไปใช้ทำธุรกรรมที่ต่างประเทศ

 ทนายความโนตารี พับลิค รับรองเอกสาร รับรองลายมือชื่อ รับรองบุคคล รับรองคำแปล รับรองเอกสารเพื่อนำไปใช้ในต่างประเทศFind a Notary Public in  Thailand outside service any where any time as you requested please call us 083-2494999 Line ID: @NYC168 บริการด้านรับรองเอกสารของโนตารี พับลิค Notary Public



ทนายความโนตารี พับลิค  รับรองเอกสาร รับรองลายมือชื่อ รับรองบุคคล รับรองคำแปล รับรองเอกสารเพื่อนำไปใช้ในต่างประเทศ ให้บริการในพื้นที่ ท่ามะกา Find a Notary Public in  Thailand outside service any where any time as you requested please call us 083-2494999 Line ID: @NYC168 บริการด้านรับรองเอกสารของโนตารี พับลิค Notary Public


1. รับรองเอกสารเพื่อบังคับใช้ในอีกประเทศหนึ่ง เพื่อใช้ในต่างประเทศ ท่ามะกา

2. รับรองเอกสาร รับรองใบสมัคร เพื่อเรียนต่อต่างประเทศ Affidavit of support /Sponser Notarization ท่ามะกา

3. รับรองสำเนาเอกสาร Certified true copy ท่ามะกา

4. รับรองสถานะการเงิน Statement Notarization ท่ามะกา

5. รับรองคำแปล แปลเอกสาร Certified true translation ท่ามะกา

6. รับรองลายมือชื่อ รับรองบุคคล กรรมการนิติบุคคล บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนSignature Notarization and Legalization ท่ามะกา

7. รับรองข้อเท็จจริง Marine protest Notary Public ท่ามะกา

8. รับรองความมีอยู่จริงของเอกสาร ท่ามะกา

9. รับรองการทำสัญญาระหว่างเอกชน Contract Agreement Notary Public ท่ามะกา

10. รับรองคำสาบาน Applicant Declaration ท่ามะกา

11. รับรองคำให้การ Declaration Notary Public ท่ามะกา

12. รับรองหนังสืออนุญาตจากผู้ปกครอง Letter of Authorization for Travel / Custodianship declaration-Parents / Guardians Notary Public ท่ามะกา

13. รับรองลายมือชื่อกรรมการ บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด เพื่อยื่นต่อกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ท่ามะกา

14. อื่นๆ ตามที่กฎหมายกำหนดอัตราค่าบริการ Notary Public 's Fee ท่ามะกา

15. รับรองเอกสารโนตารี พับลิค ท่ามะกา

16. รับรองลายมือชื่อ ท่ามะกา


รับรองลายมือชื่อ notarized-legalized ต่อกรมกงสุลและนิติกรณ์ไทย

รับรองลายมือชื่อกรรมการบริษัทมหาชน

E-mail : nyc@outlook.co.th (สนใจสอบถามอัตราค่าบริการ ได้ที่ 083-2494999 Line ID : @NYC168)

โนตารี พับลิค (Notary Public ท่ามะกา) หรือ โนตาเรียล เซอร์วิส แอทโทนี่ (Notarial Services Attorney)ในประเทศไทย คืออะไร     Notary Public หรือ Notarial services Attorney ในต่างประเทศหมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งจากทางราชการของประเทศนั้นๆ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้ มีหน้าที่ในการจัดทำสัญญา รับรองลายมือชื่อในเอกสาร ลงชื่อในฐานะเป็นพยานใน เอกสาร รับรองเอกสารนั้นๆ ว่าเป็นเอกสารที่ถูกต้องแท้จริงจากต้นฉบับ ให้ทำคำสาบาน หรือทำหน้าที่อื่นๆ ตามที่กฎหมายให้อำนาจไว้และตามหลักปฏิบัติของประเทศนั้นๆ ส่วนมากเอกสารเหล่านั้นจะนำไปใช้ในต่างปรเทศ หรือสถานฑูตประจำประเทศไทย      


ในประเทศไทยทนายความที่ได้รับใบอนุญาตจากสภาทนายความ และได้รับอนุญาตให้ทำรับรองลายมือชื่อ และเอกสารจากสภาทนายความ เป็นผู้ทำหน้าที่ Notary Public หรือ Notarial services Attorney โดยสภาทนายความ (The Lawyers council Of Thailand)ได้ออกข้อบังคับสภาทนายความ ว่าด้วยการขึ้นทะเบียนทนายความผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อ และเอกสาร พ.ศ. 2551 และระเบียบว่าด้วยการขึ้นทะเบียนทนายความ ผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสาร พ.ศ. 2552 พร้อมกับเปิดอบรมหลักสูตรทนายความ ผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสาร ให้แก่ทนายความเพื่อเป็นผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อ และเอกสาร


หน้าที่ของ Notary Public ท่ามะกา หรือ Notarial services Attorney ท่ามะกา ดังนี้

รับรองลายมือชื่อในเอกสาร ท่ามะกา

รับรองนิติกรรมที่เอกชนทำขึ้น ท่ามะกา

รับรองคำแปลเอกสาร ท่ามะกา

รับรองข้อเท็จจริง ท่ามะกา

รับรองสำเนาเอกสาร ท่ามะกา

รับรองความมีอยู่ของเอกสาร ท่ามะกา

จัดทำคำสาบาน ท่ามะกา

จัดทำบันทึกคำให้การ ท่ามะกา

ทำคำคัดค้านตราสาร ท่ามะกา

รับรองตัวบุคคล ท่ามะกา

ทำหน้าที่อื่นที่กฎหมายกำหนด ท่ามะกา

การปฎิบัติหน้าที่ของทนายความผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสารตามแนวทางสภาทนายความ มีดังนี้ ทนายความผู้ทำคำรับรองต้องไม่เลือกปฎิบัติ ปฎิบัติหน้าที่ได้เพียงในฐานะพยานรู้เห็นข้อเท็จจริงเท่านั้น การรับรองลายมือชื่อต้องให้ผู้ลงลายมือ ชื่อมาแสดงตัวต่อหน้า และต้องตรวจสอบเอกสารเพื่อยืนยันตัวบุคคล ทนายความผู้ทำคำรับรองต้องให้ความสำคัญแก่ข้อเท็จจริงและเอกสาร ที่ตรวจสอบยิ่งกว่าวิญญูชนทั่วไป และต้องไม่เปิดเผยข้อมูล หรือความลับที่ตนได้รับมาเนื่องจากการปฎิบัติหน้าที่ในฐานะผู้ทำคำรับรอง     ดังนั้น การรับรองลายมือชื่อ หรือรับรองเอกสาร หรือจัดทำเอกสารคำรับรองเพื่อนำเอกสารหรือสำเนาเอกสารเหล่านั้นไปใช้ จึงต้องทราบวัตถุประสงค์ ประโยชน์ และหน้าที่ของNotary Public หรือ Notarial Services Attorney จึงจะได้ประโยชน์ ตามความต้องการของผู้รับการรับรอง เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย ของแต่ละประเทศ from Wikipedia, the free encyclopedia A notary public (or notary or public notary) is a public officer constituted by law to serve the public in non-contentious matters usually concerned with estates, deeds, powers-of-attorney, and foreign and international business. A notary's main functions are to administeroaths and affirmations, take affidavits and statutory declarations,witness and authenticate the execution of certain classes of documents, take acknowledgments of deeds and other conveyances, protest notes and bills of exchange, provide notice of foreign drafts, prepare marine protests in cases of damage, provide exemplifications and notarial copies, and perform certain other official acts depending on thejurisdiction.[1] Any such act is known as a notarization. The term notary public only refers to common-law notaries and should not be confused with civil-law notaries. With the exceptions of Louisiana, Puerto Rico, Quebec, whose private law is based on civil law, and British Columbia, whose notarial tradition stems from scrivener notary practice, a notary public in the rest of the United States and most of Canada has powers that are far more limited than those of civil-law or other common-law notaries, both of whom are qualified lawyers admitted to the bar: such notaries may be referred to as notaries-at-law or lawyer notaries. Therefore, at common law, notarial service is distinct from the practice of law, and giving legal advice and preparing legal instruments is forbidden to law notaries.


ทนายความผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสาร มีหน้าที่ดังนี้

1. รับรองนิติกรรมที่เอกชนทำขึ้น ท่ามะกา

2. รับรองคำแปลเอกสาร ท่ามะกา

3. รับรองข้อเท็จจริง ท่ามะกา

4. รับรองสำเนาเอกสาร ท่ามะกา

5. รับรองความมีอยู่ของเอกสาร ท่ามะกา

6. จัดทำคำสาบาน ท่ามะกา

7. จัดทำบันทึกคำให้การ ท่ามะกา

8. ทำคำคัดค้านตราสาร ท่ามะกา

9. รับรองตัวบุคคล,รับรองลายมือชื่อในเอกสาร ท่ามะกา

10. ทำหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนด ท่ามะกา

การปฏิบัติหน้าที่ของทนายความผู้ทำคำรับรองลายมือชื่อและเอกสาร

1. ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะถือว่างานในหน้าที่นี้เป็นการบริการต่อสาธารณชน จึงต้องให้บริการโดยบริสุทธิ์ ยุติธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ ท่ามะกา

2. ในการปฏิบัติหน้าที่ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะทำหน้าที่ในฐานะพยานรู้เห็นโดยสุจริตและเที่ยงธรรม และไม่เห็นแก่เงินสินจ้างหรือค่าตอบแทนเว้นแต่ค่าธรรมเนียมตามสมควรหรือตาม ที่กฎหมายหรือข้อบังคับหรือระเบียบของสภาทนายกำหนดไว้ ท่ามะกา

3. ในการรับรองลายมือชื่อของบุคคลหรือคำสาบานของบุคคล ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะต้องให้ผู้ลงลายมือชื่อหรือให้คำสาบานมาปรากฏตัวด้วยตนเองและจะต้องตรวจ สอบบัตรประจำตัวประชาชนของบุคคลนั้นๆ รวมทั้งความสมัครใจและต้องให้แน่ใจว่าบุคคลที่จะลงลายมือชื่อหรือให้คำสาบาน ตนนั้นทราบถึงความสำคัญของการลงลายมือหรือคำสาบานนั้นด้วย ท่ามะกา

4. ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะต้องไม่ออกคำรับรองเท็จ หรือคำรับรองที่ไม่ครบถ้วนบริบูรณ์ ทั้งจะต้องไม่เกี่ยวข้องกับเอกสารหรือธุรกรรมใดๆ ที่เป็นเท็จมีลักษณะหลอกลวงหรือฉ้อฉล ท่ามะกา

5. ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะต้องให้ความสำคัญแก่ความถูกต้องของข้อเท็จจริงที่ตรวจสอบได้โดยเอกสารและ การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมายยิ่งกว่าความต้องการหรือความคาดหวังของบุคคลที่มา ขอให้ทำคำรับรอง ท่ามะกา

6. ทนายความผู้ทำคำรับรอง พึงกระทำการเฉพาะในสิ่งที่เป็นอำนาจหน้าที่โดยเฉพาะเจาะจงของตนเท่านั้น ไม่พึงก้าวล่วงไปให้คำแนะนำหรือทำคำรับรองนอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย หรือตามประเพณีปฏิบัติเกี่ยวกับงานในอำนาจหน้าที่ทนายความผู้ทำคำรับรอง ท่ามะกา

7. ในกรณีที่ต้องใช้ตราประทับ ทนายความผู้ทำคำรับรองจะต้องระมัดระวังเก็บรักษาดวงตราไว้เพื่อการรับรองโดย เคร่งครัด และต้องไม่อนุญาตให้บุคคลอื่นใดนำดวงตราดังกล่าวไปใช้เพื่อการใดๆ โดยเด็ดขาด ท่ามะกา

8. ในการปฏิบัติหน้าที่ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะต้องทำการบันทึกและเก็บสำเนาเอกสารการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะทนายความผู้ทำ คำรับรอง ในสมุดบันทึกงานทุกรายการ และต้องเก็บรักษาสมุดบันทึกดังกล่าวไว้ที่สำนักงานของตน หรือในที่ปลอดภัยอื่นๆ ท่ามะกา

9. ทนายความผู้ทำคำรับรอง พึงต้องเคารพสิทธิส่วนบุคคลของผู้ที่มาใช้บริการ และจะต้องไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลหรือความลับที่ตนได้รับมาเนื่องจาก หน้าที่ทนายความผู้ทำคำรับรองเพื่อการใดๆ เว้นแต่ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะทนายความผู้ทำคำรับรองหรือมี กฎหมายหรือคำสั่งศาลให้เปิดเผยได้ ท่ามะกา

10. ทนายความผู้ทำคำรับรอง จะปฏิบัติหน้าที่เมื่อได้รับการร้องขอเท่านั้น และต้องปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายหรือประเพณีที่มีอยู่ในขณะนั้น ท่ามะกา



0 ความคิดเห็น